หลังจากนั้น ของ การก่อการกำเริบ 8888

การรำลึกเหตุการณ์การก่อการกำเริบ 8888 มีอย่างต่อเนื่องทั่วโลก

หลายคนในพม่าเชื่อว่าระบอบนี้จะล่มสลายเพราะสหประชาชาติและประเทศเพื่อนบ้านตัดความช่วยเหลือ ชาติตะวันตกและญี่ปุ่นตัดความช่วยเหลือทันที อินเดียได้ปิดชายแดนและจัดตั้งค่ายผู้อพยพตามแนวชายแดนพม่า ใน พ.ศ. 2532 สมาชิกพรรคสันนิบาตแห่งชาติประชาธิปไตยได้ออกไปอยู่ในพื้นที่ของชนกลุ่มน้อยตามแนวชายแดนที่มีกลุ่มต่อต้านรัฐบาลเช่นกองทัพปลดปล่อยแห่งชาติกะเหรี่ยง ต่อมาหลายคนเข้าร่วมฝึกเป็นทหาร

สื่อในพม่าระหว่างนั้นถูกควบคุมและรายงานข่าวที่เป็นมิตรกับรัฐบาล ระหว่าง พ.ศ. 2531 – 2543 รัฐบาลพม่าได้สร้างพิพิธภัณฑ์ 20 แห่ง ให้รายละเอียดเกี่ยวกับบทบาทของทหารในประวัติศาสตร์พม่า

ใกล้เคียง

การก่อการกำเริบ 8888 การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศไทย การก่อการกำเริบคอมมิวนิสต์ในประเทศมาเลเซีย (ค.ศ. 1968–1989) การก่อการกำเริบในลาว การก่อการกำเริบวอร์ซอ การก่อการกำเริบควังจู การก่อการกำเริบฮุกบาลาฮับ การก่อการกำเริบในสาธารณรัฐมาซิโดเนีย พ.ศ. 2544 การก่อการกำเริบของประชาชนในยุโรปช่วงปลายสมัยกลาง การก่อการกำเริบในเยอรมนีตะวันออก ค.ศ. 1953

แหล่งที่มา

WikiPedia: การก่อการกำเริบ 8888 http://books.google.com/books?id=Oa9_uCi83RsC&pg=P... http://www.iht.com/articles/reuters/2008/08/08/asi... http://query.nytimes.com/gst/fullpage.html?res=940... http://www.opendemocracy.net/article/burma-waiting... http://www.foreignaffairs.org/19890301faessay5952/... http://www.irrawaddy.org/article.php?art_id=13772 http://www.irrawaddy.org/research_show.php?art_id=... http://www3.soros.org/burma/Voices88/catalogue_ind... http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/asia-pacific/7543... http://news.bbc.co.uk/2/hi/asia-pacific/3134123.st...